คบหาอย่างระมัดระวัง ความสัมพันธ์ ‘จีน-เยอรมนี’
ย้อนกลับไปเมื่อนานกว่า 10 ปีที่แล้ว จีนและเยอรมนีเห็นชอบจัดตั้ง กลไกที่ปรึกษาและการเจรจาระดับรัฐต่อรัฐร่วมกัน สมัยนั้นเยอรมนีอยู่ภายใต้การบริหารของนายกรัฐมนตรีอังเกลา แมร์เคิล ส่วนนายกรัฐมนตรีของจีน คือ นายเหวิน เจียเป่า ความสัมพันธ์และความร่วมมือกับจีนในเวลานั้นเป็นไปด้วยความราบรื่น และเส้นทางแห่งการขยายโอกาส ซึ่งตอนนั้นมีแนวโน้มกว้างขึ้นอย่างต่อเนื่อง และไม่จำกัดสำหรับทั้งสองฝ่าย
ยุทธศาสตร์นาโตเอเชีย ระเบิดเวลาสงครามเย็น2.0?
โลกตะวันตกกำลังรุกคืบด้านความมั่นคงเข้ามายังภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก ในระดับที่มากขึ้นอย่างเห็นได้ชัด เพื่อหวังถ่วงดุลอำนาจและอิทธิพลกับจีน
เข้าใกล้ภาวะวิกฤติ? สถานการณ์เศรษฐกิจลาว
รัฐบาลลาวยังคงพยายามอย่างหนัก ในการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ อย่างไรก็ตาม ใช่ว่าวิกฤติครั้งนี้จะสามารถฝ่าฟันไปได้โดยง่าย
ความอยู่รอดของเกาหลีเหนือ ‘เพื่อประชาชน’ หรือ ‘แค่คนชั้นนำ’?
สถานการณ์ด้านอาหารของเกาหลีเหนือ ยังคงอยู่ในขั้นวิกฤติ อย่างไรก็ตาม ท่านผู้นำของประเทศเดินหน้าโครงการพัฒนาอาวุธ โดยให้เหตุผล “เพื่อป้องกันตัวเอง และเพื่อความอยู่รอด”
วิกฤติเพดานหนี้ ปาหี่การเมืองสหรัฐ
การเมืองและเศรษฐกิจของสหรัฐในช่วงนี้ กำลังเป็นที่จับตาจากทั่วโลก ว่าสองพรรคการเมืองใหญ่ จะสามารถร่วมกันหาทางออกจากวิกฤติ “เพดานหนี้” ได้ทันภายในเส้นตายหรือไม่
เลือกตั้งทั่วไปกัมพูชา ต่อเวลา ‘ระบอบฮุนเซน’
กัมพูชาเตรียมจัดการเลือกตั้งทั่วไป ในวันที่ 23 ก.ค. 2566 เป็นการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดใหม่ทั้ง 125 ที่นั่ง โดยเป็นการจัดการเลือกตั้งตามกำหนด ซึ่งต้องเกิดขึ้นทุก 5 ปี และแน่นอนว่า สมเด็จฮุน เซน นายกรัฐมนตรีกัมพูชา มุ่งมั่นการอยู่ในอำนาตต่ออีกอย่างน้อย 1 สมัย หรือ 5 ปี
แคนาดาเผชิญหน้าพญามังกร ความสัมพันธ์บนเส้นขนาน
ความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับแคนาดาตึงเครียดอย่างต่อเนื่อง โดยกรณีพิพาทรอบใหม่เมื่อทั้งสองฝ่ายต่างเนรเทศนักการทูต ตอบโต้ข้อครหา “การแทรกแซงกิจการภายใน”
เลือกตั้งครั้งสำคัญในรอบ20ปี ชี้ชะตาตุรกีใต้เงา ‘เออร์โดกัน’
การเลือกตั้งแห่งชาติของตุรกี ในวันที่ 14 พ.ค. นี้ “มีความสำคัญ” มากที่สุดในรอบ 2 ทศวรรษ เนื่องจากจะเป็นการชี้ชะตาอนาคตทางการเมืองของ ประธานาธิบดีเรเซป เทย์ยิป เออร์โดกัน ผู้นำประเทศคนปัจจุบัน
อินโดนีเซียนำรัฐนาวาอาเซียน หาทางฝ่ามรสุมเมียนมา
ผ่านมาแล้วนานกว่า 4 เดือน กับการที่อาเซียนอยู่ภายใต้การนำของอินโดนีเซีย อย่างไรก็ตาม ในส่วนขั้นตอนการคลี่คลายวิกฤติการณ์ในเมียนมา ยังคงไม่มีความคืบหน้าเป็นรูปธรรมมากเท่าที่ควร
วิกฤติการณ์ซูดาน มากกว่าเรื่องในแอฟริกา
การสู้รบอย่างดุเดือดระหว่างกองทัพซูดาน กับกองกำลังเคลื่อนที่เร็ว ( อาร์เอสเอฟ ) ซึ่งเป็นกองกำลังกึ่งทหาร ปะทุเมื่อวันที่ 15 เม.ย. ที่ผ่านมา ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตมากกว่า 300 ราย และได้รับบาดเจ็บอีกหลายพันคน อย่างไรก็ตาม ทุกฝ่ายเชื่อว่าจำนวนผู้เสียชีวิตและผู้ได้รับบาดเจ็บ “สูงกว่านั้นมากในความเป็นจริง”