1 ปีฉันทามติ ‘อาเซียน-เมียนมา’ ทางข้างหน้ายังคงไม่สดใส
การรัฐประหารในเมียนมาผ่านมานานกว่า 1 ปีแล้ว ขณะที่อาเซียนพยายามหาทางออกกันเป็นการภายใน ด้วยการจัดทำกลไกที่เรียกว่า “ฉันทามติ” แต่ยิ่งเวลาล่วงเลยไปนานเท่าไหร่ ยิ่งปรากฏว่า แนวทางนี้อาจไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ
มิตรภาพจีน-โซโลมอน สั่นคลอนยุทธศาสตร์ลุงแซม
หมู่เกาะโซโลมอน ประเทศขนาดเล็กมากในมหาสมุทรแปซิฟิก กำลังจะกลายเป็น “จุดยุทธศาสตร์” เกมอำนาจระหว่างสองประเทศยักษ์ใหญ่ เมื่อการที่รัฐบาลโซโลมอนลงนามในข้อตกลงด้านความมั่นคงกับจีน สร้างแรงกระเพื่อมที่สะเทือนไกลไปถึงสหรัฐ
อาเซียนกระอักกระอ่วน “นาโต” ชวนยกระดับทางทหาร
เมื่อองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ หรือ นาโต แสดงออกอย่างชัดเจนมากขึ้น ว่าต้องการมุ่งหน้ามาทางตะวันออกมากขึ้น เพื่อคานอำนาจกับจีน กลุ่มประเทศในอินโด-แปซิฟิก โดยเฉพาะ “อาเซียน” ซึ่งถือเป็นศูนย์กลางของภูมิภาคก็ว่าได้ จะวางตัวอย่างไรดี
‘มาครง-เลอแปน’รอชิงดำ ศึกเลือกตั้งผู้นำฝรั่งเศส
ฝรั่งเศสจัดการเลือกตั้งประธานาธิบดีครั้งใหม่ ในวันที่ 10 เม.ย. โดยหากไม่มีผู้สมัครคนใดได้รับคะแนนเสียงสนับสนุนมากเกินครึ่งตั้งแต่รอบแรก ผู้สมัครที่ได้รับคะแนนเสียงสนุนมากสูงสุด 2 คนแรก จะต้องแข่งขันกันในการเลือกตั้งรอบชิงดำ ซึ่งจะเป็นรอบตัดสิน ในวันที่ 24 เม.ย.นี้
ชี้นิ้วสั่งโอเปกไม่ได้ เศรษฐีน้ำมันไม่ทิ้งรัสเซีย
แม้โอเปกยังไม่เคยมีท่าทีอย่างเป็นทางการ เกี่ยวกับ “การเลือกข้าง” ในวิกฤติการณ์ยูเครน แต่การกำหนดนโยบาย และท่าทีของกลุ่มประเทศ “ผู้กุมชะตา” ราคาน้ำมันโลก ชัดเจนในตัวเองแล้วว่า เลือกที่จะอยู่ฝั่งไหน
ความสัมพันธ์บนเส้นขนาน ปฏิปักษ์ตลอดกาล ‘นาโต-รัสเซีย’
ความสัมพันธ์ระหว่างนาโตกับรัสเซียยากที่จะมาบรรจบ เพราะต่างฝ่ายต่างวางตัวเป็นปฏิปักษ์ต่อกันมาตั้งแต่ต้น
สหภาพยุโรปไร้น้ำยา บทเรียนเลือด-น้ำตาของยูเครน
สหภาพยุโรป หรือ อียู คือองค์กรที่เป็น “เสาหลัก” ของภูมิภาค นอกเหนือจากการพัฒนาเศรษฐกิจ อียูมีนโยบายเกี่ยวกับการขับเคลื่อนสันติภาพให้เป็นรูปธรรม อย่างไรก็ตาม วิกฤติการณ์ในยูเครนกำลังพิสูจน์ว่า เรื่องนี้ “เป็นไปได้แค่ในทางทฤษฎี”
ผู้นำใหม่ ‘ยุน ซ็อก-ยอล’ โสมขาวกับดุลอำนาจเอเชียบูรพา
การดำเนินนโยบายต่างประเทศของเกาหลีใต้ โดยเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับจีน มีแนวโน้มจะกลับมาอยู่บนเส้นทางของการเป็น “สายเหยี่ยว” ภายใต้รัฐบาลชุดใหม่ ที่มีนายยุน ซ็อก-ยอล ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดี
ยูเครนที่ ‘เป็นกลาง’ หนทางเลือนรางสู่สันติ
“ความเป็นกลางทางทหาร” เป็นอย่างไร แล้วจะสามารถเป็นกลไกคลี่คลายความขัดแย้งระหว่างรัสเซียกับยูเครน ได้อย่างถาวรจริงหรือไม่
เงาอดีตจาก ‘มิวนิก’ สู่ ‘มินสก์’ แค่เศษกระดาษสันติภาพ ?
“ข้อตกลงมิวนิก” ฉบับปี 2481 เป็นหนึ่งในข้อตกลงทางการทูต ซึ่งถูกวิจารณ์มากที่สุดในประวัติศาสตร์โลก และเรื่อง “เดจาวู” กำลังกลับมาเกิดขึ้นกับ “ข้อตกลงมินสก์” ฉบับปี 2557