นักวิทยาศาสตร์มักจะค้นคว้าวิจัยหาการ พัฒนาและทดสอบการรักษาใหม่สำาหรับโรคหย่อน สมรรถภาพทางเพศ โดยทั่วไปแล้วนักวิทยาศาสตร์ ใช้วิธีการรักษาใหม่ล่าสุดเกี่ยวกับการรักษาที่มีอยู่ ซึ่ง ปัจจุบันรวมถึงยารับประทาน การฉีดยาเข้าท่อ ปัสสาวะหรืออวัยวะเพศชายและการใช้อุปกรณ์

นักวิทยาศาสตร์มักจะพัฒนาวิธีการรักษา และการรักษาใหม่ ๆ โดยใช้วิธีการและเทคโนโลยี ใหม่ ๆ กับการรักษาที่มีอยู่ อย่างไรก็ตามนัก วิทยาศาสตร์ยังพัฒนาทางเลือกการรักษาที่แตกต่าง กันสำาหรับโรคสมรรถภาพทางเพศ เช่นการบำาบัด ด้วยเซลล์ต้นกำาเนิดหรือที่เรียกว่า สเต็มเซลล์ (stem cell) คือ เซลล์ที่ยังไม่มีหน้าที่จำาเพาะ ต้องได้รับการ กระตุ้นและสั่งการจากร่างกาย เพื่อเป็นเซลล์ที่ จำาเพาะต่าง ๆ การรักษาในปัจจุบันที่เกิดขึ้นใหม่และ ในอนาคตสำาหรับโรคหย่อนสมรรถภาพทางเพศ

การพัฒนายารับประทาน ปัจจุบันมียารับ ประทาน 5 ชนิดที่ สำานักงานคณะกรรมการอาหาร และยา (อย.) ของประเทศสหรัฐอเมริกา ได้อนุมัติ ให้ใช้รักษาโรคหย่อนสมรรถภาพทางเพศได้ โดย ทั่วไปแพทย์ในประเทศต่าง ๆ มักกำาหนดให้ยา เหล่านี้เป็นวิธีการรักษาขั้นแรก อย่างไรก็ตาม สำาหรับประเทศไทย มียารับประทานประกอบด้วย ยาไวอากร้า ยาเลวิตร้า และยาเซียลิส ยาเหล่านี้เป็น สารยับยั้งเอนไซม์พีดีอี-5 ซึ่งช่วยผ่อนคลาย กล้ามเนื้อและเพิ่มการไหลเวียนของเลือดไปยัง อวัยวะเพศชาย

ในช่วงต้นทศวรรษ2000 แพทย์ในประเทศ ยุโรป สั่งยาชื่ออะโปมอร์ฟีน (apomorphine) มีชื่อการค้าว่า ยาพริมา (Uprima) มาระยะหนึ่ง แล้ว แต่ผู้ผลิตไม่ได้ต่ออายุการอนุญาตทางการ ตลาดและถอนยาออกในปี พ.ศ. 2549 จาก การทบทวนแหล่งที่เชื่อถือได้ครั้งหนึ่ง ในปี พ.ศ. 2559 สำานักงานคณะกรรมการอาหารและยา(อย.) ของประเทศสหรัฐอเมริกา ไม่อนุมัติยายูพริมา เนื่องจากทำาให้เกิดความดันเลือดต่ำาหรือความดัน โลหิตต่ำา อย่างไรก็ตาม การวิจัยที่กำาลังดำาเนินอยู่ กำาลังพิจารณาการใช้ยานี้ร่วมกับสารยับยั้งเอนไซม์ พีดีอี-5 มาตรฐานในอนาคตอันใกล้นี้ แพทย์มีแนว โน้มที่จะสั่งจ่ายยายับยั้งเอนไซม์พีดีอี-5 ต่อไป เป็นการบำาบัดทางเลือกแรก

————————-
ศ.น.ท.ดร.นพ.สมพล เพิ่มพงศ์โกศล